ปี พ.ศ. 2563
การประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA)
- ด้านที่ 1 การบริหารจัดการ
- หน่วยที่ 1 การวางแผนพัฒนาท้องถิ่น
- 1. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ.2561-2564) และหรือ (พ.ศ.2561-2565)
- 2. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการนำโครงการการบริการสาธารณะและกิจกรรมสาธารณะมาจัดทำเป็นงบประมาณรายจ่าย
- 3. แผนพัฒนาท้องถิ่นมีความเชื่อมโยงหรือสอดคล้องยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดกับยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- 4. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีแนวทางการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น
- 5. องค์การบริหารส่วนจังหวัดนำโครงการพัฒนาในแผนพัฒนาท้องถิ่น (พ.ศ.2561-2564) และหรือ (พ.ศ.2561-2565) ที่ได้ผ่านกระบวนการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นระดับอำเภอ/ระดับจังหวัด มาดำเนินการโดยใช้เงินงบประมาณรายจ่ายประจำปี/เพิ่มเติมหรือเงินนอกงบประมาณ ในปีงบประมาณ พ.ศ.2562
- 6. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการนำยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) มาเป็น กรอบในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น และข้อบัญญัติหรือเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่าย
- หน่วยที่ 2 การจัดทำฐานข้อมูล
- 7. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบันทึกข้อมูลตามฐานข้อมูลสำคัญตามกรอบระยะเวลา
- 1. มีการบันทึกข้อมูลตามฐานข้อมูลผ่านระบบสารสนเทศของกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่นได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบันอย่างต่อเนื่องทุกระบบ ตามแนวทางที่กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกำหนด
- 2. การบริหารจัดการขยะมูลฝอยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (มฝ.1, มฝ.2) บันทึกและรับรองในระบบสารสนเทศด้านการจัดการขยะมูลฝอยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นปัจจุบัน
- 3. ระบบข้อมูลกลางองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (INFO) ให้เป็นปัจจุบัน และผ่านการรับรองความถูกต้องจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และสำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดเรียบร้อยแล้ว
- 7. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบันทึกข้อมูลตามฐานข้อมูลสำคัญตามกรอบระยะเวลา
- หน่วยที่ 3 การจัดการข้อร้องเรียน
- หน่วยที่ 4 การบริการประชาชน
- 10. การอำนวยความสะดวกในการบริการประชาชน เพื่อมุ่งสู่ประโยชน์สุขของประชาชนผู้รับบริการและมีประสิทธิภาพอย่างเป็นระบบ
- 1. การจัดสถานที่ หรือสิ่งอำนวยความสะดวกตามหัวข้อเกณฑ์การประเมินด้วยข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นและสามารถพิสูจน์ได้ในระดับหนึ่ง (เป็นที่ยอมรับได้)
- 2. แบบคำร้อง คำสั่งให้เจ้าหน้าที่บริการล่วงเวลา/พักเที่ยง หรือวันหยุดราชการหลักฐานการใช้บริการในช่วงเวลาดังกล่าว
- 3. ตรวจสอบสัญญาณ WiFi ของ อปท. การจัดมุมอินเทอร์เน็ต
- 4. เอกสารประเมินความพึงพอใจ ฯลฯ
- 11. ช่องทางการสื่อสารที่หลากหลายเพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนที่จะติดต่อสอบถามหรือขอข้อมูล หรือแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- 12. การประเมินความพึงพอใจของประชาชน ณ จุดบริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Citizen-Feedback)
- 1. หลักฐานแบบประเมินความพึงพอใจ
- 2. รายงานผลการประเมินความพึงพอใจที่ประมวลผลเสนอผู้บริหารท้องถิ่น
- 3. เอกสารหรือรายการหรือวัสดุหรือครุภัณฑ์ที่แสดงให้เห็นถึงการให้คะแนนและแสดงความคิดเห็นของประชาชน เพื่อให้มีการปรับปรุงบริการของ อปท.
- 4. มีและใช้อุปกรณ์อ่านบัตรแบบอเนกประสงค์ (Smart Card Reader) ในการบริการประชาชน
- 10. การอำนวยความสะดวกในการบริการประชาชน เพื่อมุ่งสู่ประโยชน์สุขของประชาชนผู้รับบริการและมีประสิทธิภาพอย่างเป็นระบบ
- หน่วยที่ 5 ระบบการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน
- หน่วยที่ 6 การประเมินผลการปฏิบัติงาน
- หน่วยย่อยที่ 1 การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
- 15. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการจัดทำข้อตกลง ในการปฏิบัติราชการระหว่าง ส่วนราชการกับผู้บริหารท้องถิ่น
- 16. มีการวิเคราะห์และสรุปผลการประเมินผล การปฏิบัติราชการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และเข้าที่ประชุมคณะกรรมการประเมินผลตามหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งมีบุคคลภายนอกร่วมเป็นกรรมการ
- 1. คำสั่ง/ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผลฯ ที่มีผู้แทนชุมชน องค์กร ภาคประชาชน ภาคเอกชน ร่วมเป็นกรรมการ ที่เป็นปัจจุบัน
- 2. รายงานการประชุมคณะกรรมการประเมินผลฯ
- 3. รายงานผลการประเมินผลและเสนอ แนวทางการแก้ไขและพัฒนาการปฏิบัติงาน ให้ครบทั้ง 4 ด้าน
- 4. ผู้บริหารพิจารณาผลการประเมินและสั่งการ เสนอแนวทางการแก้ไขและพัฒนาการปฏิบัติงาน
- หน่วยย่อยที่ 2 ผลคะแนนการประเมินประสิทธิภาพองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (LPA)
- หน่วยที่ 7 การเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารงาน
- หน่วยที่ 8 การปรับปรุงภารกิจ
- หน่วยที่ 9 การดำเนินงานตามนโยบายของจังหวัด
- 22. (ตัวอย่าง) จำนวนกิจกรรม ที่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ดำเนินการในโครงการ (ระบุโครงการหรือกิจกรรมให้ชัดเจน)
- 1. ข้อมูลการประสานหน่วยงานอื่น ที่เกี่ยวข้องเช่น ที่ทำการปกครองอำเภอ/จังหวัด สาธารณสุขอำเภอ/จังหวัด สถานีตำรวจในพื้นที่
- 2. สื่อประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ เช่น ป้าย แผ่นพับ เว็บไซต์ ภาพถ่าย วารสาร ใบปลิว จดหมายข่าว
- 3. โครงการ/กิจกรรมที่แสดงถึงเกณฑ์การประเมินที่ได้กำหนดไว้
- 4. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
- 22. (ตัวอย่าง) จำนวนกิจกรรม ที่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ดำเนินการในโครงการ (ระบุโครงการหรือกิจกรรมให้ชัดเจน)
- หน่วยที่ 1 การวางแผนพัฒนาท้องถิ่น
- ด้านที่ 2 การบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
- หน่วยที่ 1 ความสอดคล้องเชิงยุทธศาสตร์
- 24. การจัดทำแผนอัตรากำลังสามปี
- 1. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำแผนอัตรากำลังว่าได้ระบุเลขที่คำสั่งหรือไม่และระบุคำสั่งเลขที่เท่าใด
- 2. หนังสือเชิญประชุมคณะกรรมการจัดทำแผนอัตรากำลังหรือเอกสารที่อ้างอิงว่าได้มีการแจ้งให้มีการประชุมคณะกรรมการจัดทำแผนอัตรากำลัง
- 3. รายงานการประชุมคณะกรรมการจัดทำแผนอัตรากำลัง ที่ได้แนบไว้ในเล่มแผนอัตรากำลังสามปี ประจำปี 2561 – 2563 (มีบันทึกการประชุมที่แสดงให้เห็นถึงการมีส่วนร่วมการตัดสินใจด้วยกันอย่างชัดเจน)
- 4. มติ ก.จังหวัด ในครั้งที่มีการพิจารณาแผนอัตรากำลังของ อปท.
- 25. การออกคำสั่งด้านการบริหารงานบุคคล
- 1. ประกาศกำหนดส่วนราชการและอำนาจหน้าที่ของส่วนราชการ
- 2. คำสั่งมอบหมายหน้าที่การงานให้ ข้าราชการของแต่ละส่วนราชการ
- 3. คำสั่งแต่งตั้งผู้ปฏิบัติราชการแทนปลัด/ผอ. ของแต่ละส่วนราชการ
- 4. คำสั่งแต่งตั้งผู้รักษาราชการแทนของส่วนราชการ (โดยตรวจสอบตัวบุคคลในคำสั่ง กับในคำสั่งที่มีอยู่จริง)
- 5. คำสั่งแต่งตั้งผู้รักษาราชการแทนปลัด อปท. เป็นไปตามหลักเกณฑ์กำหนด คือ ให้รองปลัดรักษาราชการแทนปลัด กรณีไม่มีรองปลัดให้แต่งตั้งผู้อำนวยการ(สำนัก/กอง/ส่วน) เป็นผู้รักษาราชการแทน
- 6. คำสั่งมอบหมายหน้าที่การงานให้รองปลัดปฏิบัติหน้าที่ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด
- 26. การพัฒนาองค์ความรู้ (Knowledge Management) โดยการอบรมหรือฝึกอบรมบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- 27. การพัฒนาองค์ความรู้ (Knowledge Management) โดยการส่งบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เข้ารับการอบรมหรือฝึกอบรม
- 28. การพัฒนาองค์ความรู้ (Knowledge Management) บุคลากรทุกสายงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในสายงาน เฉลี่ยร้อยละ ของสายงานที่มีในแผนอัตรากำลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- 1. แผนอัตรากำลังสามปีที่ใช้อยู่เป็นปัจจุบัน และมีอัตรากำลังที่มีอยู่จริง
- 2. เอกสารที่รับรองว่าผ่านการฝึกอบรมจากหน่วยที่จัด เช่น ใบประกาศ/วุฒิบัตร หนังสือรับรองหรืออื่น ๆ ปีพ.ศ. 2562
- 3. ตรวจสอบเฉพาะข้าราชการ/พนักงานเทศบาล/พนักงานส่วนตำบลเท่านั้น
- 4. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
- 29. การจัดทำมาตรฐานคุณธรรมและจริยธรรมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- 30. การส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรม รวมถึงการป้องกันการกระทำผิดจริยธรรม
- 24. การจัดทำแผนอัตรากำลังสามปี
- หน่วยที่ 2 ประสิทธิภาพของการบริหารทรัพยากรบุคคล
- 31. ข้อมูลตำแหน่งในแผนอัตรากำลังสามปี
- 32. ข้อมูลข้าราชการ พนักงานเทศบาล พนักงานส่วนตำบล ลูกจ้างประจำ และพนักงานจ้างตามภารกิจ
- 33. หลักเกณฑ์การเลื่อนขั้นเงินเดือนข้าราชการ พนักงานเทศบาล พนักงานส่วนตำบล ลูกจ้างประจำ และพนักงานจ้างตามภารกิจ
- 1. ตรวจสอบความสำเร็จของการเลื่อนขั้นเงินเดือนของข้าราชการ
- 2. เอกสารการประชุมคณะกรรมการกลั่นกรองผลการประเมินประสิทธิภาพและประเมินประสิทธิผลการปฏิบัติราชการของพนักงานส่วนท้องถิ่นและลูกจ้างประจำ
- 3. เอกสารการประชุมคณะกรรมการพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน/เลื่อนขั้นค่าจ้าง
- 4. สุ่มสอบถามตามข้อ 2 และข้อ 3 เป็นรายบุคคลว่ามีความโปร่งใสและเป็นธรรมอย่างไร อย่างน้อยรวมกันแล้ว 3 คน
- 34. การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการหรือพนักงานครูและบุคลากรทางการศึกษาส่วนท้องถิ่น
- 1. การคำนวณวงเงินร้อยละ 3 ที่สามารถจะใช้เลื่อนเงินเดือนข้าราชการ หรือพนักงานครูและบุคลากรทางการศึกษาส่วนท้องถิ่น ทั้งหมดที่มีตัวอยู่จริง (รวมผู้ที่ไปช่วย ราชการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือส่วนราชการอื่นด้วย) ให้ใช้ข้อมูล ณ วันที่ 1 มีนาคม หรือ วันที่ 1 กันยายน แล้วแต่กรณี
- 2. จำนวนร้อยละที่จะไว้ใช้ในการเลื่อนเงินเดือนข้าราชการหรือพนักงานครู และบุคลากรทางการศึกษาส่วนท้องถิ่น แต่ละคนในแต่ละครั้งไม่เกินร้อยละ 6 ของฐาน ในการคำนวณของแต่ละคน
- 3. มีการประกาศอัตราร้อยละของฐานในการคำนวณที่ได้ใช้เป็นเกณฑ์ในการคำนวณเพื่อเลื่อนเงินเดือน ต้องประกาศให้ทราบเป็นการทั่วไปอย่างช้าที่สุดพร้อมกับการมีคำสั่งเลื่อนเงินเดือน
- 4. การเกลี่ยเงินจะต้องเกลี่ยภายในกลุ่มอันดับเงินเดือนเดียวกันเท่านั้น
- 5. ผู้ได้รับเงินเดือนถึงขั้นสูงของอันดับมีการ ออกคำสั่งให้ได้รับเงินเดือนสูงกว่าขั้นสูงของอันดับเงินเดือนตามที่ ก.จ. ก.ท. และ ก.อบต. กำหนดก่อน จึงจะออกคำสั่งเลื่อนเงินเดือน รอบใหม่
- 6. หนังสือแจ้งผลการเลื่อนเงินเดือน
- 35. การประเมินผลการปฏิบัติงานข้าราชการหรือพนักงานครูและบุคลากรทางการศึกษาส่วนท้องถิ่น
- 1. การแต่งตั้งคณะกรรมการกลั่นกรองการประเมินผลการปฏิบัติงานมีการแต่งตั้งเป็นไปตามประกาศหลักเกณฑ์และเงื่อนเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงานข้าราชการหรือพนักงานครูและบุคลากรทางการศึกษาส่วนท้องถิ่นหรือไม่
- 2. การใช้แบบประเมินผลการปฏิบัติงานข้าราชการหรือพนักงานครูและบุคลากรทาง การศึกษาส่วนท้องถิ่น
- 3. การแจ้งผลการประเมินผลการปฏิบัติงานข้าราชการหรือพนักงานครูและบุคลากรทาง การศึกษาส่วนท้องถิ่น
- 36. ระยะเวลาการออกคำสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือนหรือเลื่อนเงินเดือน และระยะเวลาการบันทึกข้อมูลคำสั่ง
- 37. มีการควบคุมการลงเวลาปฏิบัติราชการ เข้าและออกของข้าราชการ พนักงานเทศบาล พนักงานส่วนตำบล ลูกจ้างประจำ และพนักงานจ้าง (ตามภารกิจ/ทั่วไป/อื่น ๆ)
- 38. การบันทึกข้อมูลในระบบศูนย์บริการข้อมูลบุคลากรท้องถิ่นแห่งชาติ (LHR)
- หน่วยที่ 3 คุณภาพชีวิตและความสมดุลของชีวิตกับการทำงาน
- หน่วยที่ 1 ความสอดคล้องเชิงยุทธศาสตร์
- ด้านที่ 3 การบริหารงานการเงินและการคลัง